ads compdd

วันอังคารที่ 15 มีนาคม พ.ศ. 2559

ลีนุกช์ดิสทริบิวชัน

  Linux distribution หรือ ลีนุกช์ดิสโทร ในยุดแรกๆที่ ลีนุกช์ ถูกนำมาใช้งานคอมพิวเตอร์ มักจะเป็นกลุ่มนัคอมพิวเตอร์ที่มีความเชี่ยวชาญความชำนาญสูง โดยจะต้อง ดาวน์โหลดส่วนประกอบของ Linux มาจากอินเตอร์เน็ต ได้แก่ Kernel, Shell, C Complier และ Boot Loader จากนั้นจะต้องนำส่วนประกอบทั้งหลายมาคอมไฟล์ และติดตั้งที่ละส่วน จนกระทั้งเป็นระบบปฏิบัติการที่สามารถใช้งานได้ ตามต้องการ สร้างความยากลำบาก และใช้เวลามากกว่าจะการติดตั้งจะสำเร็จลงได้

  จากปัญหาข้างต้น จึงทำให้มีบริษัทซอฟต์แวร์ที่เรียกว่า Linux Distribution เป็นผู้ผลิตระบบปฏิบัติการขึ้นเป็นของตนเอง โดยนำเอา Kernel ของ Linux มาประกอบเข้ากับซอฟต์แวร์อื่น ๆ และจัดทำให้เป็นผลิตภัณฑ์สำเร็จรูป ความแตกต่างของ Linux Distribution แต่ละรายแบ่งออกได้ดังนี้
  การติดตั้ง ขั้นตอนของการติดตั้งมีตั้งแต่วิธีการแบบแมนน่วล คือ ผู้ติดตั้งกระทำเองทุกขั้นตอน ไปจนถึง ติดตั้งแบบอัตโนมัตทุกอย่าง บางรายมีเมนูอธิบายขั้นตอนการติดตั้งเป็นภาษาไทยก็มี เช่น Mandrake 8.x
  ความง่ายในการตั้งค่าให้แก่ระบบ Linux Distribution แต่ละรายจะมีเครื่องมือที่ใช้ในการคอนฟิกระบบแตกต่างกันไป บางรายอาจจะมีเครื่องมือช่วยการคอนฟิกแบบรวมศูนย์กลาง เช่น YaST ของ SUSE Linux เป็นต้น
  ซอฟต์แวร์ที่แถมให้มาพร้อมกัน บาง Distribution อาจจะให้ซอฟต์แวร์แบบฟรีแวร์มานับเป็นพัน ๆ โปรแกรม แต่บางรายอาจจะให้ซอฟต์แวร์เฉพาะมาเท่าที่จำเป็นจริง ๆ เท่านั้น
  ระบบ X Window ส่วนมากแล้ว ทุก ๆ Distribution จะมีระบบ X Window ซึ่งเป็น GUI ของระบบยูนิกซ์ให้มาพร้อมกันด้วย ซึ่งนิยมใช้โปรเจค XFree86 ดังนั้นจึงมีลักษณะการติดตั้งและใช้งานที่คล้ายคลึงกัน
  การสนับสนุนทางเทคนิคหลังการขาย สำหรับองค์กรขนาดใหญ่ การให้การสนับสนุนทางเทคนิคมีความจำเป็นมาก หลาย ๆ distribution มักจะแบ่งจำหน่ายสินค้าของตนเองทั้งแบบดาวน์โหลดฟรี ( ไม่มีการสนับสนุนทางเทคนิค ) แบบมีการสนับสนุนทางเทคนิคระยะเวลาหนึ่ง และแบบทำสัญญาเป็นระยะยาว

  • Linux Distribution ที่ได้รับความนิยมสูงในประเทศไทย ได้แก่ Slackware ,Redhat และ Mandrake
  • Linux Distribution ที่พัฒนาขึ้นโดยคนไทย ได้แก่ Kaiwal , ZiFF , SIS , Linux TLE 4.0
  • Linux Distribution อื่น ๆ ได้แก่ Caldera OpenLinux , Debian GNU/Linux , S.u.S.E

    ที่มา : http://www.itdestination.com/articles/linux/distributions.php




  • วันศุกร์ที่ 11 มีนาคม พ.ศ. 2559

    สัมผัสประสบการณ์ทีวี Sony BRAVIA Android TV

    วันนี้เลยอยากแนะนำ วิธีการใช้เบื้องตัน สำหรับ ผู้ใช้ที่หลั้งจากการเปลี่ยนทีวีธรรมดาที่ไม่คุ้นเคยกับระบบ BRAVIA Android TV  คือจริงๆแล้วผมอยากเขียนบทความนี้ เพื่อช่วยแนะนำให้กับ พี่ชาย และ หลานๆ ของผม เรามาเริ่มกันเลยแล้วกัน
    p076180223143-item-0250xf1x0600x0391-mw800c-design-large

    สเปคตัวเครื่องทีวี Android TV Sony

    • Model : KDL-50W800C
    • Device Type : Android TV 
    • Android Version : 5.0.2 (32-bit)
    • CPU : SoC MediaTek MT5890
    • GPU : Mali-T624 (OpenGL ES 3.1 Supported)
    • RAM : 2GB
    • Storage : 8.363GB
    • Display :
      • Screen Size : 50” 
      • Resolution : Full HD 1920x1080 px
      • Density : ~44.289 DPI
    • Connections
      • USB OTG
      • WiFi Direct
      • Bluetooth (BLE Supported)
      • Microphone
      • Ethernet
      • WiFi
      • Miracast (Screen Mirroring)
      • Google Cast (Cast Screen)
    • Sensor : Light Sensor
    • อื่นๆ
      • รองรับ Analog/Digital TV
      • รองรับการแสดงผล 3D
      • ClearAudio+
      • X-Reality™ PRO
      • DVB-T/T2 (Built-in Digital TV Tuner)
      • รองรับการเล่นไฟล์ผ่านช่อง USB

    มาเริ่มทำความรู้จักส่วนต่างๆ BRAVIA Android TV
    หน้าจอ Home Screen + Drawerใน Android TV กูเกิลได้ยุบหน้า Home กับ Drawer ให้กลายเป็นแถบเมนูแบบเพียวๆ ที่มีชื่อว่า Leanback Launcher และหน้านี้จะอยู่กับเราไปตลอด ตั้งแต่เปิดเครื่อง กดเปิดเมนู หรือรันแอพพลิเคชันต่างๆ

    ตัว Leanback Launcher จะแบ่งออกเป็นทั้งหมด 5 ส่วนหลักๆ ดังต่อไปนี้ครับ

    แถวแรกเป็น Suggestion List เอาไว้ใช้ในการแสดงรายการคอนเทนต์จากช่องทางต่างๆ ที่น่าสนใจ รวมถึงรายการคอนเทนต์ที่เล่นค้างอยู่บน app ต่างๆ

    แถวต่อมาเป็น Input Switching เอาไว้ใช้ในการเปลี่ยนช่องทางเชื่อมต่อแบบต่างๆ

    แถวที่สี่เป็นหมวดของแอพพลิเคชันที่ติดตั้งในเครื่อง ซึ่งเราสามารถรันแอพฯ ของ Android TV (เรียกว่า Leanback App) ได้จากตรงนี้เลย อย่างไรเสีย Android TV สามารถ Sideload APK เข้าไปติดตั้งเพิ่มได้ แต่จะไม่สามารถเรียกจากตรงนี้ได้ นอกจากติดตั้งแอพฯ เสริม หรือเข้าไปเปิดในเมนู Settings

    แถวที่ 5 เป็นหมวดของเกมสำหรับ Android TV ที่ติดตั้งอยู่

    แถวสุดท้ายเป็นส่วนเมนูการตั้งค่าแบบง่ายๆ ของตัวเครื่อง เช่น Wi-Fi, Google Account หรือการตั้งเวลาเป็นต้น และสามารถกดเข้าการตั้งค่าเครื่องแบบเต็มๆ ได้จากตรงนี้เลย

    Voice Search

    หนึ่งในฟีเจอร์หลักของ Android TV ที่กูเกิลแนะนำมาตั้งแต่ต้น โดยฟีเจอร์นี้ลักษณะจะเหมือนกับ Google Now บนมือถือแทบทุกอย่าง เพราะนอกจากค้นหารายการที่เราสนใจได้แล้ว มันยังสามารถสอบถามข้อมูลได้เหมือนกับ Google Now บนมือถือด้วย ไม่ว่าจะเป็นการถามเวลา การถามสภาพอากาศ หรือการถามข้อมูลในเชิงลึกของรายการต่างๆ ก็สามารถถามได้หมด

    การเริ่มต้นการใช้งาน Voice Search เราสามารถเริ่มใช้งานได้จากทุกส่วนของตัวเครื่อง ไม่ว่าจะเป็นระหว่างการชมโทรทัศน์ หรืออยู่ในหน้าเมนูหลัก เพียงกดปุ่ม Voice บนรีโมท Voice Search ก็จะพร้อมรับคำสั่งในการค้นหาทันที

    นอกจากการค้นหารายการต่างๆ ได้แล้ว Voice Search ยังสามารถใช้งานร่วมกับแอพพลิเคชันอื่นๆ ในเครื่องได้อีกด้วย เช่น Google Play Store, YouTube, Tune In หรือแอพพลิเคชันของ Android TV ที่รองรับเป็นต้น


    ไขปัญหาทำไมถึงไม่มีรีโมทของ Android TV

    รีโมทของ Android TV หลักๆ เลยจะมีปุ่ม Home สำหรับเรียกใช้งาน Leanback Launcher มีปุ่ม Back ไว้ใช้ย้อนกลับไปหน้าก่อนหน้า และมีปุ่มไมค์สำหรับใช้เรียก Google Voice Search แต่อย่างไรเสีย ใช่ว่าทุกคนจะได้ใช้รีโมทตัวนี้เพราะผู้ผลิตก็ไม่ได้แถมไปให้ทั้งหมด (เช่นโซนี่ที่ไม่ได้แถมมาให้)


    ตัวอย่างรีโมทแบบพิเศษที่ทำตามเงื่อนไขของกูเกิล

    ขอขอบคุณ blogone ดูรีวิวเต็มๆได้ที่นี้ https://www.blognone.com/node/70336

    วันพุธที่ 9 มีนาคม พ.ศ. 2559

    Wallpaper Ubuntu สวยๆ

    รวมรูปภาพ ที่ดีทีสุด Category Ubuntu Wallpaper

    8018-1280x1024-[DesktopNexus.com]23723-1280x1024-[DesktopNexus.com]26491-1280x1024-[DesktopNexus.com]5403366593-1115111246497815938-1280x1024-[DesktopNexus.com]868299-1280x1024-[DesktopNexus.com]1437619-1280x1024-[DesktopNexus.com]1844577-1280x1024-[DesktopNexus.com]1881796-1280x1024-[DesktopNexus.com]ibextestimmersion_light_abstract_background_color_76061_1920x1080incomplete_poster_ubuntu_by_badjokernatural-artsteam_the_digital_distribution_microsoft_windows_mac_os_x_playstation_3_linux_valve_95831_1920x1080top-10-ubuntu-hd-wallpaperubuntu_bokeh_by_ttk1opcubuntu_bubbles_linux_93773_1920x1080ubuntu_by_snn_engnubuntu_community___by_chicho21netubuntu_feisty_wallpaper___1_by_floodcasso2ubuntu_grunge_by_undeathspawnubuntu_linux_company_logo_66757_1920x1080ubuntu_linux_orange_red_yellow_abstract_30977_1920x1080ubuntu_logo_hi_def_by_thediamondsaintubuntu_logo_penguins_brand_hi-tech_15257_1920x1080ubuntu_metal_by_fibermarupokubuntu_os_lines_abstract_orange_gray_30924_1920x1080Ubuntu-cakeubuntu-widescreen-wallpaper-for-wallwallpaper_base_ubuntu_modifica_by_iroquis

    Linux Mint อีกทางเลือกสำหรับผู้ใช้ระบบปฏิบัติการ

  • OS Type: Linux
  • Based on: Debian, Ubuntu (LTS)
  • แหล่งกำเนิด: Ireland
  • Architecture: i386, x86_64
  • Desktop: Cinnamon, GNOME, KDE, MATE, Xfce
  • Category: Beginners, Desktop, Live Medium

    Linux Mint พัฒนาโดยใช้ Ubuntu เป็นพื้นฐาน ล่าสุดเป็นเวอร์ชั่น 17.3 สามารถติดตั้งได้ทั้งบนเครื่อง 32-bit และ 64-bit

    Linux Mint มีทางเลือกให้ผู้ใช้โปรแกรม Desktop Environment สองโปรแกรมที่แนะนำ คือ Mate และ Cinnamon โดยสามารถเลือกได้จากการดาวน์โหลดไฟล์ ISO
    Download : https://www.linuxmint.com/download.php

    Desktop Environment ต่างๆ
    Xfce Edition
    mint

    Cinnamon Edition
    thumb_15

    Mate Edition
    thumb_mate14

    KDE Edition
    thumb_kde13

    อ้างอิงจาก : http://distrowatch.com/

  • Beautiful, Lovely, Cute ...

    12483804_586129494868543_874569135_n12483699_586129578201868_1332796372_n12498967_586129571535202_1129329078_n12506521_586129348201891_5371214_n12506889_586129291535230_979261202_n12511612_586129201535239_1692402912_n12511729_586129311535228_491437177_n12511970_586129268201899_1436077904_n12516138_586129538201872_186008957_n

    รูปภาพได้มาจากการ ก๊อบปีีของเพจต่างๆ